img

เป้าหมาย

เป้าหมาย

          เกษตรกรและประชาชนได้รับการพัฒนาและเรียนรู้ภูมิปัญญาและนวัตกรรมการเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

    (1) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : ประชาชนที่เข้าชมพิพิธภัณฑ์ (onsite และ Online) 

ปี พ.ศ. 2566 = 430,000 ราย

ปี พ.ศ. 2567 = 540,000

ปี พ.ศ. 2568 = 580,000 ราย

ปี พ.ศ. 2569 = 620,000 ราย

ปี พ.ศ. 2570 = 660,000 ราย


   (2) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : ชิ้นงานการจัดแสดงของพิพิธภัณฑ์ ที่พัฒนาปรับปรุง หรือ สร้างขึ้นใหม่

ปี พ.ศ. 2566 = 24 ชิ้นงาน

ปี พ.ศ. 2567 = 24 ชิ้นงาน

ปี พ.ศ. 2568 = 24 ชิ้นงาน

ปี พ.ศ. 2569 = 24 ชิ้นงาน

ปี พ.ศ. 2570 = 24 ชิ้นงาน


   (3) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : สมาชิกเครือข่ายเศรษฐกิจพอเพียง

ปี พ.ศ. 2566 = 120 เครือข่าย

ปี พ.ศ. 2567 = 130 เครือข่าย

ปี พ.ศ. 2568 = 140 เครือข่าย

ปี พ.ศ. 2569 = 150 เครือข่าย

ปี พ.ศ. 2570 = 160 เครือข่าย


   (4) ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติเกษตรเศรษฐกิจพอเพียงมีความรู้และความเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปี พ.ศ. 2566 – 2570   ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85   


   (5) ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : ผู้เข้ารับการถ่ายทอด    องค์ความรู้ได้นำความรู้ไปประยุกต์ใช้                               

 ปี พ.ศ. 2566 – 2570   ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80   


   (6) ตัวชี้วัดห่วงโซ่ผลการดำเนินงาน (result chain) ผลลัพธ์ : ร้อยละการเกิดความร่วมมือกับเครือข่ายของ พกฉ. 

ปี พ.ศ. 2568 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80


   (7) ตัวชี้วัดห่วงโซ่ผลการดำเนินงาน (result chain) ผลกระทบ : เกิดตลาดเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจระดับชุมชนท้องถิ่น

อย่างน้อย 1 แห่ง/ปี